บทคัดย่อ
โครงงานสุขภาพ เรื่อง ลูกประคบจากสมุนไพร ได้แนวคิดมาจากคนในท้องถิ่นหรือชุมชนที่มีปัญหาด้านการปวดเมื่อยตามร่างกายจำนวนมาก ประกอบกับค่ารักษาพยาบาลที่มีค่าใช้จ่ายค่อนข้างสูง กลุ่มของข้าพเจ้าจึงคิดทำลูกประคบขึ้นมาเพื่อให้ประหยัดค่าใช้จ่ายและแทนการรับประทานยาที่มีจำนวนมากโดยมีวิธีการดังนี้ นำเอาสมุนไพรมาคลุกรวมกัน ห่อด้วยผ้า ทำเป็นลูกประคบ และนำไปนึ่งด้วยความร้อน และประคบบริเวณที่ปวดเมื่อยได้
กิตติกรรมประกาศ
โครงงานสุขภาพ เรื่อง ลูกประคบจากสมุนไพรสด(HERBAL COMPRESS) จะสำเร็จลุล่วงไม่ได้ถ้าไม่ได้รับการช่วยเหลือจากผู้อำนวยการโรงเรียนอำนาจเจริญ นายจักรทิพย์ กีฬา
นางลาวัณย์ นพพิบูลย์ ครูประจำวิชา ที่ช่วยให้คำปรึกษา ช่วยแก้ไขปัญหาต่างๆ เกี่ยวกับโครงงาน ตลอดจนเอื้อเฟื้อสถานที่และออกแบบโครงงาน
ขอขอบคุณผู้ปกครอง ครูโรงเรียนอำนาจเจริญและชุมชนที่ให้ความช่วยเหลือในด้านต่างๆและให้กำลังใจตลอดมา
คณะผู้จัดทำโครงงานขอขอบพระคุณท่านที่มีส่วนเกี่ยวข้องไว้ ณ โอกาสนี้
คณะผู้จัดทำ
สารบัญ
เรื่อง หน้า
คำนำ ก สารบัญ ข กิตติกรรมประกาศ ง บทคัดย่อ จ
บทที่ 1 บทนำ
ที่มาและความสำคัญของโครงงาน 1 จุดมุ่งหมายของการศึกษาค้นคว้า 1 สมมุติฐานของการศึกษาค้นคว้า 1 ขอบเขตของการศึกษาค้นคว้า 1 ระยะเวลาในการศึกษา 1
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
HERBAL COMPRESS 2
ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับเหง้าไพล 4 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับขมิ้นชัน 7 ความรู้เกี่ยวกับผิวมะกรูด 8 ความรู้เกี่ยวกับตะไคร้บ้าน 11 ความรู้เกี่ยวกับใบส้มป่อย 12 ความรู้เกี่ยวกับใบมะขาม 14ความรู้เกี่ยวกับใบเป้า 16ความรู้เกี่ยวกับใบขี้เหล็ก 17 ความรู้เกี่ยวกับหัวหอม 20 ความรู้เกี่ยวกับขิง 21 ความรู้เกี่ยวกับเกลือแกง 30 ความรู้เกี่ยวกับพิมเสน 31 ความรู้เกี่ยวกับการบูร 32
สารบัญ (ต่อ)
เรื่อง หน้า
บทที่ 3 วัสดุอุปกรณ์และวิธีการดำเนินการ
วัสดุอุปกรณ์ 33 วัตถุดิบ 33วิธีดำเนินการทำลูกประคบ 34
บทที่ 4 ผลการดำเนินงาน
ตารางแสดงผลการทดลอง 35
บทที่ 5 สรุปการอภิปรายผลการดำเนินงาน
สรุปการอภิปรายผลการดำเนินงาน 36
ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ 36
ข้อเสนอแนะ 36
ภาคผนวก 37
บรรณานุกรม 44
คำนำ
โครงงาน เรื่อง ลูกประคบจากสมุนไพร(HERBAL COMPRESS)จะสำเร็จเป็นลูกประคบสมุนไพร(HERBAL COMPRESS)ต้องอาศัยกระบวนการความคิดริเริ่มสร้างสรรค์อย่างเป็นระบบ กระบวนการกลุ่ม ร่วมแรงร่วมใจกันระหว่างนักเรียน ครู ชุมชน สร้างนวัตกรรมเพื่อให้เหมาะสมกับบริบทสภาพแวดล้อมในท้องถิ่นที่มีอยู่ คือการสร้าง “ลูกประคบสมุนไพรที่หาวัสดุธรรมชาติได้ในท้องถิ่นมานึ่งและห่อ” รวมเป็นส่วนประกอบของลูกประคบ ทำให้ลูกประคบสมุนไพรระเหยส่งกลิ่นหอมและบรรเทาอาการปวดบริเวณต่างๆของร่างกายประกอบกับช่วยให้เลือดไหลเวียนดีขึ้น สร้างความดึงดูดใจและความสนใจ ใช้ง่าย ไม่ระคายเคืองต่อผิว ประหยัดค่าใช้จ่ายในการเข้ารับการรักษาพยาบาลที่มีค่าใช้จ่ายค่อนข้างสูงและไม่ต้องรับประทานยาจำนวนมากด้วย เนื่องจากใช้ลูกประคบสมุนไพรในการประคบหรือนวด วัสดุส่วนหนึ่งนั้นสามารถหาได้จากธรรมชาติ ในชุมชน บูรณาการร่วมกับภูมิปัญญาในท้องถิ่น นำสมุนไพรหาได้ในท้องถิ่นมานึ่งและห่อ ผสมเป็นส่วนประกอบของลูกประคบอย่างสมดุล
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น